วันเสาร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

วิชาเทคโนโลยีสาระสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู

... Wellcome To Nattawadee WebBlog...



คำอธิบายรายวิชา
.....คำอธิบายรายวิชา

..................ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น ไมโครซอฟต์คอทพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล ระบบเน็ตเวริ์ก ระบบซอฟต์แวร์ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ ทักษาะการเข้าถึงสารสนเทศ ฐานข้อมูลสารสนเทศ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ฃและการอ้างอิง ฝึกปฏิบัติการ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยีสานสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม


วัตถุประสงค์

........... เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนจบแล้วตามหลักสูตรจะมีพฤติกรรมหรือความสามารถดังนี้
1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และองค์ประกอบของเทคโนโลยีสานสนเทศได้

2. อธิบายความสันพันธ์ของเทคโนโลยีสารสนเทศได้

3. ยกตัวย่างเทคโนโลยีสารสนเทศได้และการสื่อสารในชีวิตจริงได้

4. อธิบายความหมายและความสำคัญของวิธีระบบได้

5. อธิบายความสันพันธ์ของวิธีระบบกับเทคโนโลยีสารสนเทศได้

6. บอกความหมายและองประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ได้

7. อธิบายหน้าที่ขององค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ได้

8. บอกประเภทและคุนสมบัติของซอฟแวร์แต่ละประเภทได้

9. บอกความหมายและความสำคัญของอินเทอร์เนตได้

10. บอกความสันพันธ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้

11. อธิบายแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้

12. อธิบายวิธีประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาได

13. ยกตัวอย่างโปรแกรมต่างๆที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนได้


14. สร้างสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนได้

15. นำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งที่เป็นสื่อทั่วไปและสื่อระบบเครือข่าย


..... ให้นักศึกษาอ่านข้อความต่อไปนี้ให้ได้ใจความชัดเจน
..... 1. คำว่า "เทคโนโลยี" หมายความว่าอย่างไร
..... 2.

กิจกรรมศึกษาพฤติกรรมและเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ ความซื่อสัตย์
     ข้อที่ 1. ศึกษา ความหมาย ของคำว่าความซื่อสัตย์
·         ความซื่อสัตย์ หมายถึง    ซื่อสัตย์" คือความประพฤติดีงามที่จริงใจ และตรงไปตรงมาไม่เอนเอียงกลับเป็นอื่น ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม ไม่คดโกง ไม่ทรยศ ไม่หลอกลวง
ความซื่อสัตย์จึงซื่อตรงต่อความดี ทำดี ทั้งๆที่มีปัญญารู้อยู่ อย่างกล้าเสียเปรียบได้ กล้าเสียสละให้ กล้าจงรักภักดีโดยไม่ยอมทำชั่ว ไม่ยอมทรยศอกตัญญูเด็ดขาด "คนซื่อสัตย์" จึงไม่ใช่ "คนเซ่อเขลา"
. . . แต่คนซื่อสัตย์เป็นคนที่ฉลาดยึดในสิ่งดี และมั่นคงต่อการตอบแทนบุญคุณ ทำให้เป็นที่เคารพ น่าเชื่อถือ ได้รับชื่อเสียงดีจากความซื่อตรงและจริงใจนั้น สมดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า เหตุแห่งการได้ชื่อเสียง ยิ่งไปกว่าความซื่อสัตย์นั้นไม่มี
. . . ยิ่งถ้าเป็นเรื่องค้าขาย ยิ่งต้องสร้างเครดิต (ชื่อเสียง) มากๆ จนเป็นที่เชื่อถือยอมรับได้ของลูกค้า เพราะทำตัวเป็นพ่อค้าแม่ค้าที่ซื่อสัตย์

ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นส่วนหนึ่งของความจริงใจ  การที่เราจะมีความซื่อสัตย์ต่อผู้อื่น  เราต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองเสียก่อน  แท้จริงแล้วเราไม่จำเป็นต้องมีความซื่อสัตย์หรอก  แต่ให้เป็นคนมีความจริงใจก็สามารถมีความซื่อสัตย์ได้แล้ว  เพราะเมื่อเรามีความจริงใจผลพลอยได้คือความซื่อสัตย์ 
Integrity
.... Is a concept of consistency of actions, values, methods, measures, principles, expectations, and outcomes. In ethics, integrity is regarded as the honesty and truthfulness or accuracy of one's actions. Integrity can be regarded as the opposite of hypocrisy, in that it regards internal consistency as a virtue, and suggests that parties holding apparently conflicting values should account for the discrepancy or alter their beliefs.
The word "integrity" stems from the Latin adjective integer (whole, complete). In this context, integrity is the inner sense of "wholeness" deriving from qualities such as honesty and consistency of character. As such, one may judge that others "have integrity" to the extent that they act according to the values, beliefs and principles they claim to hold.

ข้อที่ 2. วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความหมายกับคำอื่นๆที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
คุณธรรม-จริยธรรม..มีความหมายว่า คุณงามความดีของบุคคลที่กระทำลงไปด้วยความมีสำนึกดีในจิตใจ โดยได้ยึดถือปฏิบัติจนเป็นความเคยชินกันมายาวนาน อันเป็นลักษณะนิสัยของคนดีที่พึงประพฤติปฏิบัติจนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ดีงามถูกต้องตามจารีตประเพณีของตนเองผู้อื่น!!!  ส่วนความซื่อสัตย์คือ การกระทำที่ทำขึ้นเพื่อรักษาคำหมั้นสัญญาของตนเอง ถ้ารักษาได้ก็ถือว่าเราเป็นบุคคลที่มีความ ซื่อสัตย์แล้ว

ข้อที่ 3. วิเคราะห์ ประโยชน์และคุณค่า ของความซื่อสัตย์
  ถ้าเกิดว่าบุคคลใด รักษาคำพูดที่ตัวเองลั่นวาจาออกมาแล้วทำได้ ก็จะทำให้ผู้อื่นที่อยู่รอบข้างตัวเราศรัทรา และยกย่องนับถือในตัวเรา และการได้รับความไว้วางใจ ความน่าเชื่อถือในการกระทำของบุคคลนั้น
ข้อที่6. ศึกษาพฤติกรรม ความซื่อสัตย์จากสื่อ ICT โดยวิเคราะห์ให้ตรงกับความหมาย

โดยส่วนมากคนในโลกยุค IT จะใช้โลกออนไลน์มากจนเกินไปโดยแบ่งออกเป็นสองกลุ่มย่อยๆดังนี้
1.  บุคคลที่เข้าไปใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อหาความรู้ เพื่อความสะดวกสบายรวดเร็วและเพื่อความบันเทิงของตนเอง อาทิ เช่น การสั่งซื้อของงทางอินเตอร์เน็ต การติดต่อสื่อออนไลน์ต่างๆ
2.  บุคคลที่เข้าไปเพื่อหวังผลประโยชน์ต่อตนเองสร้างความเสียหายให้แก่ผู้อื่น อาทิ เช่น เข้าไปทำสื่อลามก เพื่อ อณาจารย์ผู้อื่น เข้าไปแฮ็ก ข้อมูลของผู้อื่น

ข้อที่9. ศึกษา เนื้อหาสาระ เกี่ยวกับความซื่อสัตย์จากวรรณกรรม สุภาษิต คำพังเพย
ความหมายของสุภาษิต
       ได้แก่คำพูดที่พูดออกมา  ไม่ว่าจะเป็นทำนองสำนวนโวหาร หรือคำพังเพย แต่มีเนื้อความหรือความหมายที่ดี  เป็นคำตักเตือนสั่งสอน  และสะกิดใจให้ระลึกถึงอยู่เสมอ มีอยู่ 2 ประเภท คือ
1. คำสุภาษิตประเภทที่ พูด อ่าน หรือเข้าใจเนื้อความได้ทันที   โดยไม่ต้องแปลความหมาย ตีความหมาย
2. คำสุภาษิตประเภทที่ พูด อ่าน หรือฟังแล้วยังไม่เข้าใจเนื้อความนั้นในทันที ต้องนึกตรึกตรอง ต้องแปลความ   ตีความหมายเสียก่อนจึงจะทราบเนื้อแท้ของคำเหล่านั้น  
ตัวอย่างเช่น  ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน หมายถึง บุคคลใดก็ตามที่มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น บุคคลนั้นย่อมได้รับความเจริญก้าวหน้าทั้งในเรื่องการงาน และครอบครัว

 

6 ความคิดเห็น:

  1. บล็อกของเธอช่างสวยจริง อะไรจริงจ้า ทั้งนาฬิกา พื้นหลัง เนื้อหา โดยเฉพาะหัวบล็อกเนี่ย ...เริ่ดสุดสุด...

    ตอบลบ
  2. ตกแต่งบล็อกได้น่ารักมากเลยค่ะ สีอักษรก็สดใสดี น่าสนใจมากๆเลยคร่าา

    ตอบลบ
  3. บล็อกดูสดใสดี
    ช่างเหมาะกับเธอจัง
    เนื้อหาก็ใช้ได้จ้า ^^

    ตอบลบ
  4. บล็อกสดใสดี ดูแล้วเย็นสบายตา แต่อยากให้ปรับเปลี่ยนตัวหนังสือสักนิดนึงจะดีมากคร่า

    ตอบลบ
  5. บล็อกดูสวยดี เนื้อหาน่าสนใจดี ดูแล้วสบายตาดีค่ะ

    ตอบลบ
  6. BLOG สวยดี แต่ว่าตัวหนังสือ สีเยอะไปหน่อย ภาพรวม โอเครจร่ะ

    ตอบลบ